08-1935-4607

pbnitico@ksc.th.com

ผู้เขียน: admin

IR Forum 2016 (Thailand Industrial Relations)

IR Forum 2016 (Thailand Industrial Relations)

 

จัดโดย : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย  (PMAT)  วันอังคารที่ 18 ตุลาคม 2559 

 ณ. โรงแรมเดอะบาซาร์ ถ. รัชดา    ตั้งแต่เวลา 09:00 – 16:00 น.

หัวข้อ : ข้อควรระวังกรณีการนำเทคโนโลยีขั้นสูงมาใช้ การลดขนาดองค์กร และการเลิกจ้างคราวละจำนวนมากๆ 

เรื่อง 1. ลูกจ้างซึ่งมีตำแหน่งสูงในระดับบริหาร ไม่ทำงานสนองนโยบายตามแผนงานของบริษัท และไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา เพื่อเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ลูกจ้างคนอื่นๆ นายจ้างย่อมเลิกจ้างได้ ไม่ถือว่าเป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม

เรื่อง 1. ลูกจ้างซึ่งมีตำแหน่งสูงในระดับบริหาร ไม่ทำงานสนองนโยบายตามแผนงานของบริษัท และไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา เพื่อเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ลูกจ้างคนอื่นๆ นายจ้างย่อมเลิกจ้างได้ ไม่ถือว่าเป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม

คำพิพากษาฎีกาที่ 2360/2557 นายสม     &nb.

1. คู่สัญญาต่างมีความผูกพันกันโดยมูลหนี้ อันมีวัตถุประสงค์อย่างเดียวกัน และหนี้ของคู่สัญญา     ถึงกำหนดแล้ว จึงนำมาหักกลบลบหนี้กันได้

1. คู่สัญญาต่างมีความผูกพันกันโดยมูลหนี้ อันมีวัตถุประสงค์อย่างเดียวกัน และหนี้ของคู่สัญญา ถึงกำหนดแล้ว จึงนำมาหักกลบลบหนี้กันได้

คำพิพากษาฎีกาที่ 13798/2557 นายสุนธรา   &nbsp.

การเลิกจ้างที่ไม่ขัดต่อกฎหมาย

                                            การเลิกจ้างที่ไม่ขัดต่อกฎหมาย

         1.    ฯลฯ

 

 

         10. ไม่ไว้วางใจ (คำพิพากษาฎีกาที่ 10160/2551  , 9116/2546 , 7047/2546)

        11. ประเมินผลงานต่ำ

       12. เลิกจ้างเนื่องจากหมิ่นประมาทนายจ้าง (ฎีกาที่ 5410/2544)

       13.  ลูกจ้างบาดหมางกัน ตักเตือนแล้วก็ไม่เลิก (ฎีกาที่ 9518/2544)

       14.  ฝ่าฝืนข้อบังคับ (ฎีกาที่ 1333/2547)

       15.  เลิกจ้างด้วยเหตุไม่มีงานด้านนั้นๆ เนื่องจากย้ายที่ทำการใหม่มีเทคโนโลยีทันสมัย

        (ฎีกาที่ 678-680/2549)

      16. ครบเกษียณอายุ (ฎีกาที่ 7945/54)

      17. วันหยุดพักผ่อนประจำปี (ฎีกาที่  6412-6413/2557) ทำ 1 ปี 1 วัน

        วันหยุดพักผ่อนประจำปี 6 วัน + 6 วัน 

                                             ************************************

บริษัทจะเสียหายอย่างไรถ้าเลิกจ้างไม่ถูกต้อง

บริษัท จะเสียหายอย่างไรถ้าเลิกจ้างไม่ถูกต้อง 

1. ฯลฯ

9. ประเด็นเรื่องการรับกลับ ตามมาตรา 49 /2522

10. ประเด็นเรื่องการจ่ายค่าเสียหาย ตามาตรา 49/2522

11. การเลิกจ้างลูกจ้าง  นายจ้างต้องจ่ายเงินอะไรบ้าง ?

ตอบ 1. ประกันการว่างงาน

2. ดอกเบี้ย

3. ค่าชดเชย

4. ค่าจ้าง

5. ค่าบอกกล่าว

6. วันหยุดพักผ่อนประจำปี

7. ค่าเสียหาย

8. หลักประกัน/เงินประกัน (ถ้ามี)

12. ลูกจ้างลงนามยินยอมและรับเงินตามกฎหมายครบถ้วนแล้ว ยังสามารถฟ้องนายจ้างได้อีกหรือ? ฟ้อง

อะไรได้บ้าง?

            ตอบ      1. ฟ้องเรียกค่าเสียหาย

                         2. ฟ้องให้รับกลับ

                         3. ฟ้องเงินเพิ่ม

                         4. ฟ้องดอกเบี้ย

13. นายจ้างจะป้องกันการถูกฟ้องได้กรณีไหนได้บ้าง

            ตอบ     1. สละสิทธิ

                        2. ลาออก + แบบฟอร์มการลาออก

                        3. โครงการร่วมใจจาก

14. ฟ้องเรียกสวัสดิการย้อนหลัง

15. ฟ้องการกระทำไม่เป็นธรรม ม.123/18 , ม. 124/18 , ม. 125/18

16. ลูกจ้างฟ้องการกระทำอันไม่เป็นธรรมแล้ว ยังมาฟ้องเลิกจ้างไม่เป็นธรรมได้อีก

(ตามฎีกาที่ 12716 – 12718/2555)

 

17. ให้ศาลสั่งนายจ้างแจ้งสำนักงานประกันสังคมว่า นาย ก ถูกเลิกจ้างโดยไม่มีความผิดเพราะจะได้

เงินอีก  45,000.00 บาท 

                                            

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน รับว่าต่างอรรถคดีทุกศาลทั่วราชอาณาจักร รับแก้ต่าง เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ทนายแรงงาน รับว่าความคดีแรงงาน ถามตอบปัญหากฏหมายแรงงาน รับเป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน เพราะคนทำงาน จึงควรรู้เล่ห์เหลี่ยมกฎหมาย ทนายความผู้เชี่ยวชาญกฎหมายแรงงาน และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ฟ้องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ฟ้องคดีละเมิดนายจ้าง ฟ้องเรียกเงินทดแทน ทนายฟ้องนายจ้าง ปรึกษาทนายคดีแรงงาน ทนายแรงงาน ให้คำปรึกษาด้าน กฎหมายแรงงาน ดังนั้น การว่าความในคดีแรงงาน ทนายความหรือนักกฎหมายต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในตัวบทกฎหมาย ต้องที่นี่ที่เดียว ที่ปรึกาากฎหมายแรงงาน ไพบูลย์ นิติ จำกัด ทนายแรงงาน ที่มีความเชียวชาญ ประสบการณ์กว่า 20 ปี ทั้งยังมีเปิดอบรมกฎหมายแรงงานอีกด้วย ทั้งยังสามารถดูฎีกาแรงงานมากมายที่นี่ที่เดียว