คำพิพากษาฎีกาที่ 13807-13808/2555
นายลำพูล กันเขียว
นายบรรจง จันทร์เสนา โจทก์
บริษัท คอนทิเนนทอล ปิโตรเคมีคอล (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย
เรื่อง ขาดทุนสะสมและลดคนเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม
คำพิพากษาฎีกาที่ 13807-13808/2555
นายลำพูล กันเขียว
นายบรรจง จันทร์เสนา โจทก์
บริษัท คอนทิเนนทอล ปิโตรเคมีคอล (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย
เรื่อง ขาดทุนสะสมและลดคนเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม
คำพิพากษาฎีกาที่ 13802-13803/2555
นายอดิศักดิ์ เอี่ยมนพคุณ
พลฯ อดิศร เอี่ยมนพคุณ โจทก์
สำนักงานประกันสังคม จำเลย
เรื่อง 1. บิดามารดาไม่ได้จดทะเบียนสมรส เมื่อบิดาตาย บุตรจะขอรับเงินบำเหน็จชราภาพได้ไหม
2. บุตรจะต้องฟ้องให้ศาลเยาวชนรับรองบุตรเรียกก่อน จึงมีสิทธิขอรับเงินบำเหน็จชราภาพ
คำพิพากษาฎีกาที่ 12713/2555
นายชูเกียรติ ปรัตถจริยา โจทก์
บริษัท ไทยน้ำทิพย์ จำกัด จำเลย
เรื่อง 1. ฝ่าฝืนคำสั่งไม่รับชำระค่าสินค้าเป็นเงิน แต่รับเป็นเช็ค แล้วเช็คเด้ง ผิดร้ายแรงไหม
2. หากฝ่าฝืนคำสั่ง นายจ้างต้องตักเตือนก่อน
การเลิกจ้างกรรมการลูกจ้าง/มีขั้นตอนอย่างไร
หากนายจ้างจะเลิกจ้างลูกจ้างในขณะที่ดำรงตำแหน่งกรรมการลูกจ้างนายจ้างจะต้องขออนุญาตจากศาลแรงงานก่อน เมื่อศาลแรงงานมีคำสั่งอนุญาตแล้วจึงจะบอกเลิกจ้างหรือออกคำสั่งเลิกจ้างลูกจ้างที่เป็นกรรมการลูกจ้างนั้นได้ทั้งนี้ ไม่ว่าการเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างนั้น จะเป็นการเลิกจ้างเพราะเหตุที่กรรมการลูกจ้างกระทำความผิดวินัย หรือเป็นการเลิกจ้างเพราะเหตุอื่นที่ไม่ใช่ความผิดของกรรมการลูกจ้าง
การเลิกจ้างลูกจ้างซึ่งเคยเป็นกรรมการลูกจ้างและพ้นตำแหน่งมาแล้วไม่ต้องขออนุญาตจากศาลแรงงานก่อน แม้ว่าเหตุเลิกจ้างนั้นจะเกิดขึ้นขณะที่ดำรงตำแหน่งกรรมการลูกจ้างก็ตาม
ในทำนองเดียวกัน การเลิกจ้างขณะดำรงตำแหน่งกรรมการลูกจ้างนายจ้างต้องขออนุญาตศาลแรงงานก่อนทุกกรณี แม้ว่าเหตุเลิกจ้างนั้นจะ
สรุปขั้นตอนกระบวนการพิจารณาคดีแรงงาน
1.กระบวนการพิจารณาคดีแรงงานใช้ระบบไต่สวน(ไม่ใช่ระบบกล่าวหา)
2.องค์คณะในการพิจารณาพิพากษาคดีแรงงาน มีลักษณะเป็นไตรภาคี
-ผู้พิพากษาจากข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม
-ผู้พิพากษาสมทบฝ่ายนายจ้าง
-ผู้พิพากษาสมทบฝ่ายลูกจ้าง
3.การฟ้องคดีแรงงาน ไม่ต้องเสียค่าฤชาธรรมเนียม เหมือนคดีแพ่งในศาลยุติธรรมทั่วไป
4.คดีแรงงานเข้าสู่การพิจารณาได้ 2 ทาง
-ผู้เสียหายปรึกษาและมอบหมายแต่งตั้งทนายความให้ฟ้องคดีแทน
-ผู้เสียหายเข้าพบปรึกษาขอคำแนะนำการฟ้องคดีกับนิติกรของศาลแรงงาน
คำพิพากษาที่ 5467/2555
บริษัทกู๊ดเยียร์(ประเทศไทย) จำกัด ( มหาชน) โจทก์
นายบุญส่ง วลัยวิทย์ ที่ 1
นายปรัญชา วลัยวิทย์ ที่ 2
นายวชิรา วลัยวิทย์ ที่ 3 จำเลย
เรื่อง 1.ลูกจ้างที่มีตำแหน่ง จัดทำบัญชีจ่ายเงินค่าจ้างโอนเข้าบัญชีเงินฝากพนักงานเกินกว่าค่าจ้างที่แท้จริง เป็นการทุจริต
คำพิพากษาที่ 5462/2555
นายสังคม ไก่แก้ว โจทก์
บริษัท เคอรี่ ดีสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย
เรื่อง 1. การโยกย้ายตำแหน่งพนักงาน และหรือการไม่มอบหมายงานให้ลูกจ้างทำ เป็นอำนาจการบริหารที่นายจ้างทำได้จริงแต่ต้องเป็นการกระทำโดยสุจริต ไม่เป็นที่เสียหายแก่ลูกจ้าง และต้องไม่เป็นการกลั่นแกล้งด้วย
คำพิพากษาที่ 2962/2555
นายสุวัฒน์ ปรีชาธรรม โจทก์
บริษัททางด่วนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) จำเลย
เรื่อง 1.พนักงานขับรถ มีพฤติกรรมที่เป็นอุปสรรคต่อการบริหาร
2.ไม่ให้ความร่วมมือในการทำงาน
3.ปฏิเสธทำงานในวันนักขัตฤกษ์ในกรณีจำเป็น
4.ไม่ให้ความร่วมมือทำงานล่วงเวลา
5.ลาป่วยหรือลาฉุกเฉินทำให้เกิดอุปสรรคในการบริหารงาน
6.มีกิริยาก้าวร้าวไม่เคารพผู้บังคับบัญชา
7.อารมณ์ไม่ดีจะขับรถเร็ว
8.ละทิ้งงานโดยไม่มีเหตุอันสมควร
คำพิพากษาที่ 2127/2555
นางอัจฉราวรรณ วจนานนท์ โจทก์
บริษัทซีบี ริชาร์ด เอลลิส (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย
เรื่อง 1.ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานระบุเกษียณอายุ 60 ปี แก้เป็น 55 ปี ได้ไหม
2.วิธีแก้ไขต้องทำอย่างไร
3.เมื่ออายุครบเกษียณต้องบอกกล่าวเลิกจ้างล่วงหน้าไหม
4.เมื่ออายุครบเกษียณต้องจ่ายค่าชดเชยไหม
5.แก้อายุเกษียณจาก 55 ปี เป็น 60 ปี ต้องทำอย่างไร
6.หากแก้ไขข้อบังคับเรื่องเกษียณอายุไม่ชอบด้วยกฎหมายผลจะเป็นอย่างไร
7.หนังสือยินยอมแก้ข้อบังคับควรมีข้อความอย่างไร
8.คู่มือพนักงานเป็นข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานไหม
9.ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานเป็นข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างไหม
คำพิพากษาที่ 2124/2555
นายบรรลือ เสียงสนั่น โจทก์
บริษัทไดมอนลีฟ (ไทยแลนด์) จำกัด จำเลย
เรื่อง 1.นายจ้างเลิกจ้างเพราะเหตุปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริหารงาน และลดอัตราค่าจ้างมีการปรับลดหน่วยงานทั้งบริษัท ไม่ได้เลือกปฏิบัติ เฉพาะบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรมหรือไม่ และนายจ้างต้องรับกลับเข้าทำงานตามเดิม หรือชดใช้ค่าเสียหายตามฟ้องหรือไม่