08-1935-4607

pbnitico@ksc.th.com

หมวดหมู่: ฎีกาแรงงาน

ฎีกาแรงงาน ฎีกาที่น่าสนใจ ในกฎหมายแรงงงาน มีเคสฎีกากว่า 100 ฎีกา ซึ่งท่านสามารถหาอ่านและค้นหาข้อมูลฎีกาที่เกี่ยวกับท่านได้ ตามความต้องการเป็นการศึกษาฎีกา

การคิดค่าจ้างเงินเดือนรั่วไหลใครรับผิดชอบ

การคิดค่าจ้างเงินเดือนรั่วไหลใครรับผิดชอบ

คำพิพากษาที่ 4441 / 2554

บริษัทกระดาษศรีสยาม จำกัด ( มหาชน ) โจทก์

นางทิพย์วารี ท้วมใจดี หรือนางดลนภา จิรัคคกุล ที่ 1 กับพวกรวม 5คน จำเลย

เรื่อง 1. การคิดค่าจ้างเงินเดือนรั่วไหลใครรับผิดชอบ

จ้างร.ป.ภ.มาเฝ้าหอพักเป็นการจ้างแรงงานหรือจ้างทำของ

จ้างร.ป.ภ.มาเฝ้าหอพักเป็นการจ้างแรงงานหรือจ้างทำของ

คำพิพากษาที่ 3098/2554

นายอมร พรมทรัพย์ โจทก์

ธรรมพร อพาร์ทเม้นท์ หรือร้อยเอก พรชัย ขาวสบาย จำเลย

เรื่อง 1.จ้างร.ป.ภ.มาเฝ้าหอพักเป็นการจ้างแรงงานหรือจ้างทำของ

เงินค่าเบี้ยเลี้ยง  ค่าน้ำมันรถยนต์ ค่าสึกหรอ ค่าโทรศัพท์  หากมีการจ่ายประจำลักษณะเหมาจ่ายเป็นรายเดือน  ลูกจ้างไม่ต้องแสดงใบเสร็จเป็นหลักฐานในการรับเงินเป็นการจ่ายเพื่อตอบแทนการทำงาน  เป็นค่าจ้างตามมาตรา 5 พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน

เงินค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าน้ำมันรถยนต์ ค่าสึกหรอ ค่าโทรศัพท์ หากมีการจ่ายประจำลักษณะเหมาจ่ายเป็นรายเดือน ลูกจ้างไม่ต้องแสดงใบเสร็จเป็นหลักฐานในการรับเงินเป็นการจ่ายเพื่อตอบแทนการทำงาน เป็นค่าจ้างตามมาตรา 5 พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน

คำพิพากษาฎีกาที่ 750-751/2554

นางสาววลัยลักษณ์ ปรีดาถวัลย์ โจทก์

บริษัท ฟาร์มาฮอฟ จำกัด จำเลย

เรื่อง 1.เงินค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าน้ำมันรถยนต์ ค่าสึกหรอ ค่าโทรศัพท์ หากมีการจ่ายประจำลักษณะเหมาจ่ายเป็นรายเดือน ลูกจ้างไม่ต้องแสดงใบเสร็จเป็นหลักฐานในการรับเงินเป็นการจ่ายเพื่อตอบแทนการทำงาน เป็นค่าจ้างตามมาตรา 5 พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน

ลูกจ้างเป็นพนักงานขับรถ ขับรถโดยประมาท ทำให้นายจ้างเสียหาย  การฟ้องเรียกค่าเสียหายที่ไม่เกิน 10 ปี  ขาดอายุความหรือไม่

ลูกจ้างเป็นพนักงานขับรถ ขับรถโดยประมาท ทำให้นายจ้างเสียหาย การฟ้องเรียกค่าเสียหายที่ไม่เกิน 10 ปี ขาดอายุความหรือไม่

คำพิพากษาที่ 15903/2553

บริษัทขนส่ง จำกัด โจทก์

นางนันทา วงเอี่ยม ที่ 1 กับพวกรวม 5คน จำเลย

เรื่อง 1. ลูกจ้างเป็นพนักงานขับรถ ขับรถโดยประมาท ทำให้นายจ้างเสียหาย การฟ้องเรียกค่าเสียหายที่ไม่เกิน 10 ปี ขาดอายุความหรือไม่

2. กรณีลูกจ้างขับรถโดยประมาท ถึงแก่ความตายและรถของนายจ้างเกิดความเสียหาย นายจ้างสามารถฟ้องทายาทเข้าร่วมรับผิด ได้หรือไม่ และ ทายาทต้องรับผิดในจำนวนเท่าใด

3. ผู้ค้ำประกันการทำงานของลูกจ้างจะต้องร่วมกันรับผิดด้วยหรือไม่ และ จำนวนที่รับผิดเท่าไร

4. นายจ้างควรจ้างพนักงานขับรถจากผู้รับเหมาดีไหม

5. นายจ้างควรทำประกันไว้วงเงินเท่าไรดี

บุตรฟ้องศาลเยาวชนขอให้ศาลสั่งว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย ก่อนคณะกรรมการอุทธรณ์มีคำวินิจฉัย จึงมีสิทธิรับบำเหน็จชราภาพแทนผู้เป็นพ่อ

บุตรฟ้องศาลเยาวชนขอให้ศาลสั่งว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย ก่อนคณะกรรมการอุทธรณ์มีคำวินิจฉัย จึงมีสิทธิรับบำเหน็จชราภาพแทนผู้เป็นพ่อ

คำพิพากษาฎีกาที่ 4105/2554

นายสานิตร โกศลวรรธนะ โดยนางสาวพจนีย์ โกศลวรรธนะ โจทก์

สำนักงานประกันสังคม จำเลย

เรื่อง บุตรฟ้องศาลเยาวชนขอให้ศาลสั่งว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย ก่อนคณะกรรมการอุทธรณ์มีคำวินิจฉัย จึงมีสิทธิรับบำเหน็จชราภาพแทนผู้เป็นพ่อ

เลิกจ้างพนักงานขับรถแล้วจัดจ้างผู้รับเหมามาขับรถแทนได้ไหม

เลิกจ้างพนักงานขับรถแล้วจัดจ้างผู้รับเหมามาขับรถแทนได้ไหม

คำพิพากษาฎีกาที่ 16044-16045/2553

นายวัยวุฒิ พันธุ์เสือ ที่ 1 กับพวกรวม 2 คน โจทก์

บริษัทเงินทุน สินอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) จำเลย

เรื่อง (1)เลิกจ้างพนักงานขับรถแล้วจัดจ้างผู้รับเหมามาขับรถแทนได้ไหม
(2) ได้โบนัสทุกสิ้นปี แต่ถูกเลิกจ้างเดือนตุลาคมจะได้โบนัสตามส่วนไหม
(3) ปรับลดพนักงานลง เพื่อลดขนาดองค์กรต้องเป็นการปรับลดจำนวนมากหรือจำนวนน้อย จึงสมเหตุสมผล

ข้อบังคับระบุให้รับเงินบำเหน็จ และค่าชดเชยเป็นสภาพการจ้างไหม

ข้อบังคับระบุให้รับเงินบำเหน็จ และค่าชดเชยเป็นสภาพการจ้างไหม

คำพิพากษาฎีกาที่ 12199-12223/2553

นายสุทิน สุวรรณประทีป ที่ 1 กับพวกรวม 25 คน โจทก์

บริษัทไทยซูซูกิมอเตอร์ จำกัด จำเลย

เรื่อง (1)ข้อบังคับระบุให้รับเงินบำเหน็จ และค่าชดเชยเป็นสภาพการจ้างไหม
(2)ต่อมาแก้ไขว่าเงินบำเหน็จเป็นส่วนหนึ่งของค่าชดเชยโดยไม่ได้ยื่นข้อเรียกร้องเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างจะทำได้หรือไม่
(3)เกษียณไปแล้ว แต่จ้างทำงานใหม่ต้องจ่ายค่าชดเชยอีกไหม
(4)การขยายอายุเกษียณทำได้หรือไม่
(5)ข้อดีข้อเสียของการขยายอายุเกษียณ
(6)การแก้ไขสภาพการจ้างที่ไม่เป็นคุณต้องทำอย่างไร

เลิกกิจการ  แต่ลูกจ้างไม่โอนย้ายไปนิติบุคคลอื่น

เลิกกิจการ แต่ลูกจ้างไม่โอนย้ายไปนิติบุคคลอื่น

คำพิพากษาฎีกาที่ 16002 16003/2553

นางสาววิภารัตน์ ประทุมวงศ์ ที่ 1 กับพวกรวม 2 คน โจทก์

บริษัทแอล. ที. ยู. แอพพาเรลส์ จำกัด จำเลย

เรื่อง 1.เลิกกิจการ แต่ลูกจ้างไม่โอนย้ายไปนิติบุคคลอื่น
2.เมื่อถึงเวลาโอนย้ายเท่ากับเวลาเลิกจ้าง
3.ลูกจ้างไม่โอนย้ายไม่เป็นการละทิ้งหน้าที่

เลิกจ้างกรรมการลูกจ้างตามคำสั่งของศาลแรงงานและศาลฎีกา มิใช่การเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม

เลิกจ้างกรรมการลูกจ้างตามคำสั่งของศาลแรงงานและศาลฎีกา มิใช่การเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม

คำพิพากษาฎีกาที่ 10907/2553

นางสาวสุธิลา ลืนคำ โจทก์

บริษัท เอ็มเอ็มไอ พรีซิชั่น (ไทยแลนด์) จำกัด จำเลย

เรื่อง(1)เลิกจ้างกรรมการลูกจ้างตามคำสั่งของศาลแรงงานและศาลฎีกา มิใช่การเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
(2)นายจ้างขาดทุนมากและต่อเนื่องติดต่อกันหลายปี จำเป็นต้องลดลูกจ้างจำนวนมาก และยุบหน่วยงานที่กรรมการลูกจ้างทำงาน ศาลอนุญาตเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างได้
(3)เมื่อศาลแรงงานอนุญาตให้เลิกจ้าง หากลูกจ้างฎีกาจะเลิกจ้างได้ไหม

การเปลี่ยนตัวนายจ้างหากลูกจ้างไม่ยินยอม  ทำได้หรือไม่

การเปลี่ยนตัวนายจ้างหากลูกจ้างไม่ยินยอม ทำได้หรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 14420-14423/2553

นายศักดิ์ธณัช วิชาพานิช ที่ 1กับพวกรวม 4 คน โจทก์

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจฯ จำกัด จำเลย

เรื่อง(1.)การเปลี่ยนตัวนายจ้างหากลูกจ้างไม่ยินยอม ทำได้หรือไม่
(2.)ถ้าลูกจ้างไม่ยอมแล้วเลิกจ้างผลจะเป็นอย่างไร
(3.)วิธีโอนลูกจ้างไปทำงานในบริษัทในเครือทำอย่างไร
(4.)หนังสือรับรองการทำงานควรมีข้อความอย่างไร
(5.)ฟ้องเรียกเงินเพิ่มจะฟ้องจากเงินอะไรบ้าง

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน รับว่าต่างอรรถคดีทุกศาลทั่วราชอาณาจักร รับแก้ต่าง เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ทนายแรงงาน รับว่าความคดีแรงงาน ถามตอบปัญหากฏหมายแรงงาน รับเป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน เพราะคนทำงาน จึงควรรู้เล่ห์เหลี่ยมกฎหมาย ทนายความผู้เชี่ยวชาญกฎหมายแรงงาน และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ฟ้องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ฟ้องคดีละเมิดนายจ้าง ฟ้องเรียกเงินทดแทน ทนายฟ้องนายจ้าง ปรึกษาทนายคดีแรงงาน ทนายแรงงาน ให้คำปรึกษาด้าน กฎหมายแรงงาน ดังนั้น การว่าความในคดีแรงงาน ทนายความหรือนักกฎหมายต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในตัวบทกฎหมาย ต้องที่นี่ที่เดียว ที่ปรึกาากฎหมายแรงงาน ไพบูลย์ นิติ จำกัด ทนายแรงงาน ที่มีความเชียวชาญ ประสบการณ์กว่า 20 ปี ทั้งยังมีเปิดอบรมกฎหมายแรงงานอีกด้วย ทั้งยังสามารถดูฎีกาแรงงานมากมายที่นี่ที่เดียว