08-1935-4607

pbnitico@ksc.th.com

หมวดหมู่: ฎีกาแรงงาน

ฎีกาแรงงาน ฎีกาที่น่าสนใจ ในกฎหมายแรงงงาน มีเคสฎีกากว่า 100 ฎีกา ซึ่งท่านสามารถหาอ่านและค้นหาข้อมูลฎีกาที่เกี่ยวกับท่านได้ ตามความต้องการเป็นการศึกษาฎีกา

จำเลยกระทำโดยประมาทเลินเล่อ จนเป็นเหตุให้เกิดเพลิงไหม้โรงงานของจำเลยหรือไม่

จำเลยกระทำโดยประมาทเลินเล่อ จนเป็นเหตุให้เกิดเพลิงไหม้โรงงานของจำเลยหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 3001-3051/2555

นายสุริยา นามหงษา ที่ 1 กับพวกรวม 51 คน โจทก์

บริษัทกู๊ดเยียร์ (ประเทศไทย) จำกัด มหาชน จำเลย

เรื่อง 1.จำเลยกระทำโดยประมาทเลินเล่อ จนเป็นเหตุให้เกิดเพลิงไหม้โรงงานของจำเลยหรือไม่
2.กรณีเกิดเพลิงไหม้ มีผลกระทบต่อการประกอบกิจการของจำเลย จำเป็นต้องหยุดกิจการบางส่วนเป็นการชั่วคราวตามม.75 ได้ไหม
3.จำเลยจ่ายค่าจ้างแก่โจทก์ทั้ง 51 คน ในอัตราร้อยละ 75 ของค่าจ้างในวันทำงานที่ได้รับก่อนหยุดกิจการ สำหรับการหยุดงาน 3 วันแรกของเดือน ส่วนตั้งแต่วันที่ 4 เป็นต้นไปจ่ายค่าจ้างอัตราร้อยละ 50 ตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างและข้อบังคับการทำงานของนายจ้าง และ พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 75 ถูกต้องหรือไม่
4.ไฟไหม้ในขบวนการผลิตต้นน้ำ แต่สั่งหยุดตามม.75 ที่ขบวนการผลิตปลายน้ำได้ไหม

ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างเรื่องการรักษาพยาบาลควรมีเงื่อนไขอย่างไร

ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างเรื่องการรักษาพยาบาลควรมีเงื่อนไขอย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 9755/2554

สหภาพแรงงานผลิตภัณฑ์น้ำมันพืช กับพวกรวม 2 คน โจทก์

บริษัทธนากรผลิตภัณฑ์น้ำมันพืช จำกัด จำเลย

เรื่อง 1.ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างเรื่องการรักษาพยาบาลควรมีเงื่อนไขอย่างไร
2.เงื่อนไขการรักษาพยาบาล ต้องเกิดจากในงานหรือนอกงาน
3.เงื่อนไขอัตราค่ารักษาพยาบาล ควรระบุวงเงินเท่าใด ต่อคนต่อปี
4.หากเจ็บป่วยนอกงานจะรักษาได้ทุกโรคไหม
5.เงื่อนไขการรักษาพยาบาลตามสิทธิประกันสังคมควรรักษาก่อนหรือรักษาตามสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลของนายจ้างก่อน
6.เงื่อนไขการเข้ารักษาพยาบาลควรเป็นโรงพยาบาลใด(เอกชนหรือรัฐบาล)
7.ข้อดีข้อเสียในการซื้อประกันกลุ่มรักษาพยาบาล
8.สหภาพแรงงานจะฟ้องนายจ้างต้องดำเนินการอย่างไร
9.หากนายจ้างจ่ายเงินค่ารักษาไปก่อนแล้วจะหักเงินตาม ม.76/41 ได้ไหม
10.นายจ้างจะหักเงินค่ารักษาพยาบาลเกินสิทธิจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้ไหมถ้าลูกจ้างลาออก
11.นายจ้างถูกฟ้องต้องแก้ต่างคดีจะคุ้มกับเงินที่นายจ้างหักไว้ไหม
12.ต้องรีบย้ายโรงพยาบาลไปยังโรงพยาบาลตามสิทธิภายในกี่ชั่วโมง
13.ประชุมชี้แจ้งให้ผู้จัดการกะกลางคืนทราบด้วย
14.เป็นความกันกินขี้หมาดีกว่า
15.หากมีประกันภัยรถยนต์

ระเบียบการลาป่วยที่ดีควรเขียนอย่างไร

ระเบียบการลาป่วยที่ดีควรเขียนอย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 2966/2555

นางอัญชลี อาศิรวาท โจทก์

บริษัทอิ่มอารมณ์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนสตรัคชั่น จำกัด จำเลย

เรื่อง 1. ระเบียบการลาป่วยที่ดีควรเขียนอย่างไร
2. นายจ้างระบุเหตุเลิกจ้างว่าทำเงินเดือนจ่ายให้คนงานไม่ทันแต่ศาลฟังว่าทำจ่ายทันกำหนด ผลจะเป็นอย่างไร
3. หนังสือเตือนที่ชอบด้วยกฎหมาย ต้องมีสาระสำคัญอย่างไร

การที่โจทก์และจำเลยทำข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างกันไว้หากไม่เป็นไปตามข้อตกลงดังกล่าวให้ถือเป็นหนังสือลาออกของโจทก์ได้หรือไม่

การที่โจทก์และจำเลยทำข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างกันไว้หากไม่เป็นไปตามข้อตกลงดังกล่าวให้ถือเป็นหนังสือลาออกของโจทก์ได้หรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 11991/2554

นายสุวิช จะโนภาษ โจทก์

บริษัทพรหมมหาราชพัฒนาที่ดิน จำกัด จำเลย

เรื่อง การที่โจทก์และจำเลยทำข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างกันไว้หากไม่เป็นไปตามข้อตกลงดังกล่าวให้ถือเป็นหนังสือลาออกของโจทก์ได้หรือไม่

โจทก์ประพฤติมิชอบในเรื่องศีลธรรม โดยกระทำล่วงเกินทางเพศด้วยวาจา เป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานกรณีร้ายแรงหรือไม่ เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรมหรือไม่

โจทก์ประพฤติมิชอบในเรื่องศีลธรรม โดยกระทำล่วงเกินทางเพศด้วยวาจา เป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานกรณีร้ายแรงหรือไม่ เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรมหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 11610/2554

นายพรชัย พุทธานุรักษ์ โจทก์

บริษัทบีเอสเอช โฮม แอ็พพลายแอ็นซ์ จำกัด จำเลย

เรื่อง 1. โจทก์ประพฤติมิชอบในเรื่องศีลธรรม โดยกระทำล่วงเกินทางเพศด้วยวาจา เป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานกรณีร้ายแรงหรือไม่ เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรมหรือไม่
2. พฤติกรรมนั้นต้องมีผลให้รู้สึกอับอาย
3. ผิดระเบียบข้อบังคับอย่างไร
4. ล่วงเกินทางเพศคืออะไร
5. หนังสือเลิกจ้างต้องเขียนอย่างไร

การโอนหรือการเปลี่ยนแปลงตัวนายจ้าง กรณีต้องด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 577 นายจ้างเดิมและนายจ้างใหม่ จะทำได้เมื่อลูกจ้างยินยอมพร้อมใจด้วย

การโอนหรือการเปลี่ยนแปลงตัวนายจ้าง กรณีต้องด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 577 นายจ้างเดิมและนายจ้างใหม่ จะทำได้เมื่อลูกจ้างยินยอมพร้อมใจด้วย

คำพิพากษาฎีกาที่ 7945/2554

นายธวัชชัย อนันต์สถิต โจทก์

บริษัทสวรรค์เทพ จำกัด ที่ 1
บริษัทสุราบางยี่ขัน จำกัด ที่ 2 จำเลย

เรื่อง 1. การโอนหรือการเปลี่ยนแปลงตัวนายจ้าง กรณีต้องด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 577 นายจ้างเดิมและนายจ้างใหม่ จะทำได้เมื่อลูกจ้างยินยอมพร้อมใจด้วย
2. กรณีลูกจ้างโอนจากนายจ้างเดิม ไปยังนายจ้างใหม่และลูกจ้างไม่ได้โต้แย้งคัดค้านสิทธิต่างๆ ที่ลูกจ้างมีอยู่ต่อนายจ้างเดิม ถือว่าลูกจ้างยินยอมพร้อมใจด้วยปริยาย
3. เงินเบี้ยเลี้ยงหากจ่ายโดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ กำหนดไว้ และจ่ายเป็นประจำแน่นอน เป็นค่าจ้างตามมาตรา 5 พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
4. นายจ้างเดิมระบุเกษียณ 65 ปี นายจ้างผู้รับโอนระบุเกษียณ 60 ปี ผลจะเป็นอย่างไร
5. ดอกเบี้ยของค่าชดเชย เริ่มคิดเมื่อไร

การสละสิทธิ์เรียกร้องมีผลบังคับได้ตามกฎหมาย

การสละสิทธิ์เรียกร้องมีผลบังคับได้ตามกฎหมาย

คำพิพากษาฎีกาที่ 4626/2554

นาวาอากาศเอกวิเชียร นกแก้ว โจทก์

บริษัทเมโทรแมชีนเนอรี่ จำกัด จำเลย

เรื่อง การสละสิทธิ์เรียกร้องมีผลบังคับได้ตามกฎหมาย

ไม่นำเงินที่ได้จากการขายเข้าเครื่องระบบแคชเชียร์หลังจากปิดการขายเป็นการทุจริตหรือไม่

ไม่นำเงินที่ได้จากการขายเข้าเครื่องระบบแคชเชียร์หลังจากปิดการขายเป็นการทุจริตหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 5679/2554

นางสุดารัตน์หรืออนงค์กาญจน์ ฤทธิ์มนตรี โจทก์
นายวันภพ วงษ์ภักดีศักดิ์ ที่ 1

บริษัทเอกชัย ดีสทรีบิวชั่นซิสแทม จำกัด ที่ 2
นายเจฟฟ์ อดัมส์ ที่ 3 จำเลย

เรื่อง1.ไม่นำเงินที่ได้จากการขายเข้าเครื่องระบบแคชเชียร์หลังจากปิดการขายเป็นการทุจริตหรือไม่
2.เหตุเลิกจ้างควรอ้างเหตุผลอะไรบ้าง
3.วิธีเขียนคำสั่งเลิกจ้างควรเขียนอย่างไร
4.เลิกจ้างโจทก์โดยมีเหตุผลอันสมควรหรือไม่

พฤติการณ์ของเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคล ได้พูดไล่โจทก์ ออกจากงานโดยจงใจเลิกจ้างในขณะที่กรรมการผู้มีอำนาจของจำเลยอยู่ในเหตุการณ์แต่ไม่มีการห้ามและโต้แย้ง ถือว่าจำเลยให้กระทำแทน ในฐานะตัวแทนนายจ้าง ในการบอกเลิกจ้างหรือไม่

พฤติการณ์ของเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคล ได้พูดไล่โจทก์ ออกจากงานโดยจงใจเลิกจ้างในขณะที่กรรมการผู้มีอำนาจของจำเลยอยู่ในเหตุการณ์แต่ไม่มีการห้ามและโต้แย้ง ถือว่าจำเลยให้กระทำแทน ในฐานะตัวแทนนายจ้าง ในการบอกเลิกจ้างหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 9747-9748/2554

นางสาวสุข นามเดช ที่ 1 กับพวกรวม 2 คน โจทก์

บริษัทมั่นชัย แมชชินเนอรี่ จำกัด จำเลย

เรื่อง พฤติการณ์ของเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคล ได้พูดไล่โจทก์ ออกจากงานโดยจงใจเลิกจ้างในขณะที่กรรมการผู้มีอำนาจของจำเลยอยู่ในเหตุการณ์แต่ไม่มีการห้ามและโต้แย้ง ถือว่าจำเลยให้กระทำแทน ในฐานะตัวแทนนายจ้าง ในการบอกเลิกจ้างหรือไม่

ให้เพิกถอนคำวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์ ในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างโจทก์กับแพทย์ ประจำโรงพยาบาลของโจทก์ ไม่ได้เป็นนายจ้างลูกจ้างกัน

ให้เพิกถอนคำวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์ ในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างโจทก์กับแพทย์ ประจำโรงพยาบาลของโจทก์ ไม่ได้เป็นนายจ้างลูกจ้างกัน

คำพิพากษาฎีกาที่ 8995/2554

บริษัทศูนย์การแพทย์ไทย จำกัด(มหาชน) โจทก์

สำนักงานประกันสังคม ที่ 1 กับพวกรวม 14 คน จำเลย

เรื่อง ให้เพิกถอนคำวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์ ในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างโจทก์กับแพทย์ ประจำโรงพยาบาลของโจทก์ ไม่ได้เป็นนายจ้างลูกจ้างกัน

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน รับว่าต่างอรรถคดีทุกศาลทั่วราชอาณาจักร รับแก้ต่าง เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ทนายแรงงาน รับว่าความคดีแรงงาน ถามตอบปัญหากฏหมายแรงงาน รับเป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน เพราะคนทำงาน จึงควรรู้เล่ห์เหลี่ยมกฎหมาย ทนายความผู้เชี่ยวชาญกฎหมายแรงงาน และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ฟ้องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ฟ้องคดีละเมิดนายจ้าง ฟ้องเรียกเงินทดแทน ทนายฟ้องนายจ้าง ปรึกษาทนายคดีแรงงาน ทนายแรงงาน ให้คำปรึกษาด้าน กฎหมายแรงงาน ดังนั้น การว่าความในคดีแรงงาน ทนายความหรือนักกฎหมายต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในตัวบทกฎหมาย ต้องที่นี่ที่เดียว ที่ปรึกาากฎหมายแรงงาน ไพบูลย์ นิติ จำกัด ทนายแรงงาน ที่มีความเชียวชาญ ประสบการณ์กว่า 20 ปี ทั้งยังมีเปิดอบรมกฎหมายแรงงานอีกด้วย ทั้งยังสามารถดูฎีกาแรงงานมากมายที่นี่ที่เดียว