08-1935-4607

pbnitico@ksc.th.com

หมวดหมู่: ฎีกาแรงงาน

ฎีกาแรงงาน ฎีกาที่น่าสนใจ ในกฎหมายแรงงงาน มีเคสฎีกากว่า 100 ฎีกา ซึ่งท่านสามารถหาอ่านและค้นหาข้อมูลฎีกาที่เกี่ยวกับท่านได้ ตามความต้องการเป็นการศึกษาฎีกา

นายจ้างอ้างภาวะขาดทุนเป็นเหตุเลิกจ้าง

นายจ้างอ้างภาวะขาดทุนเป็นเหตุเลิกจ้าง

คำพิพากษาฎีกาที่ 3240 3247/2553

นายสมพงษ์ บางนาชาติ ที่ 1 กับพวกอีก 8 คน โจทก์

บริษัท วาย เค เค (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย

เรื่อง 1. นายจ้างอ้างเหตุประสบปัญหาภาวะขาดทุน ไม่สามารถดำเนินกิจการได้ใช้เป็นเหตุเลิกจ้าง แต่มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอกมารับขนส่งแทน การเลิกจ้าง มีเหตุจำเป็นและเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม หรือไม่

2. กรณีลูกจ้างได้รับเงินค่าชดเชย เงินบำเหน็จ และเงินช่วยเหลือพิเศษจากนายจ้าง โดยทำบันทึกสละข้อเรียกร้องเงินอื่นใดจากนายจ้างแล้ว ลูกจ้างสามารถเรียกร้องค่าเสียหายจากนายจ้างอีกได้ หรือไม่

นายจ้างส่งลูกจ้างไปอบรมโดยออกค่าใช้จ่ายให้ หลังอบรมลูกจ้างต้องทำงาน 3 ปี  หากไม่ทำตามต้องชดใช้ค่าใช้จ่ายหรือไม่

นายจ้างส่งลูกจ้างไปอบรมโดยออกค่าใช้จ่ายให้ หลังอบรมลูกจ้างต้องทำงาน 3 ปี หากไม่ทำตามต้องชดใช้ค่าใช้จ่ายหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 5971/2553

บริษัทแมทเทล กรุงเทพ จำกัดโจทก์

นางสาวจ. ที่ 1จำเลย

นางสาวภ.ที่ 2

เรื่อง1. นายจ้างกับลูกจ้างทำข้อตกลงกัน โดยนายจ้างส่งลูกจ้างไปอบรมด้วยค่าใช้จ่ายที่นายจ้างออกให้ทั้งหมด และลูกจ้างเมื่ออบรมเสร็จหลักสูตร ลูกจ้างจะต้องทำงานให้นายจ้างอย่างน้อย 3 ปี หากลูกจ้าง ไม่ทำตามข้อตกลง ลูกจ้างต้องชดใช้ค่าเสียหายให้กับนายจ้างตามที่จ่ายไปจริง ข้อตกลงดังกล่าวทำได้หรือไม่

2. ผู้ค้ำประกันบุคคลเข้าทำงานย่อมมีผลผูกพันตามสัญญาค้ำประกัน

 

ลูกจ้างทำให้สินค้าสูญหาย นายจ้างใช้สิทธิเลิกจ้างหรือเรียกร้องอะไรได้บ้าง

ลูกจ้างทำให้สินค้าสูญหาย นายจ้างใช้สิทธิเลิกจ้างหรือเรียกร้องอะไรได้บ้าง

คำพิพากษาฎีกาที่ 1357/2553

บริษัท โทนี่ เบ็นเนตต์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด โจทก์

นางสาวหทัยหรือมณฑา แสนสวัสดิ์ (ลูกจ้าง) ที่ 1

นางนันทา แสนสวัสดิ์ (ผู้ค้ำ) ที่ 2 จำเลย

เรื่อง 1. กรณีลูกจ้างทำให้สินค้าที่อยู่ในความดูแลสูญหายเป็นการละเมิดต่อนายจ้าง หรือผิดสัญญาจ้างทำให้นายจ้างเสียหาย นายจ้างใช้สิทธิเลิกจ้าง และเรียกร้องอะไรได้บ้าง

2. ผู้ค้ำประกันจะต้องรับผิดชอบอย่างลูกหนี้ร่วมด้วยหรือไม่

3. การละเมิดต่อนายจ้างในขณะทำงานตามสัญญาจ้างมีกฎหมายเรื่องอายุความมากำหนดหรือไม่ และหากไม่มีจะใช้อายุความตามกฎหมาย อะไรได้บ้าง

4. ระเบียบวิธีการคุมสต็อกมีระเบียบที่ดีอย่างไร

5. สัญญาค้ำประกันต้องปิดอากรและขีดฆ่าหรือไม่

ลูกจ้างในงานขนส่งทางบก ไม่มีสิทธิ์ได้รับค่าล่วงเวลาตามกฎหมาย

ลูกจ้างในงานขนส่งทางบก ไม่มีสิทธิ์ได้รับค่าล่วงเวลาตามกฎหมาย

คำพิพากษาฎีกาที่ 5992-5998 / 2553

นายสมัย อัมพวา ที่ 1 กับพวกรวม 7 คน โจทก์

บริษัท ไอโอ – เซิร์ฟ จำกัด จำเลย

เรื่อง 1. ลูกจ้างในงานขนส่งทางบก ไม่มีสิทธิได้รับเงินค่าล่วงเวลาตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน

2. สัญญาประนีประนอมยอมความ มีข้อความบันทึกว่า จะไม่ติดใจเรียกร้องเงินอื่น ๆ เป็นการสละสิทธิเรียกร้องโดยไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน และไม่เป็นโมฆะ มีผลบังคับใช้

3. งานขนส่ง คืออะไร

4. เมื่อทำงานล่วงเวลา นายจ้างต้องจ่ายเป็นค่าอะไร

การบอกเลิกสัญญาจ้าง หากมิได้ระบุความผิดและเหตุแห่งการเลิกจ้างไว้ จะยกขึ้นกล่าวอ้างภายหลังมิได้

การบอกเลิกสัญญาจ้าง หากมิได้ระบุความผิดและเหตุแห่งการเลิกจ้างไว้ จะยกขึ้นกล่าวอ้างภายหลังมิได้

คำพิพากษาฎีกาที่ 8803/2553

นายสรวุฒิ ลิ้มวรการ โจทก์

บริษัทเพอร์เฟ็คท์ ออฟฟิศ เฟอร์นิเจอร์ จำกัด จำเลย

เรื่อง การบอกเลิกสัญญาจ้าง หากมิได้ระบุความผิดและเหตุแห่งการเลิกจ้างไว้ จะยกขึ้นมากล่าวอ้างภายหลังมิได้ ต้องห้ามตามอุทธรณ์ข้อเท็จจริงตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 54

จ่ายค่าชดเชยตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานแล้ว อาจถูกฟ้องเรียกค่าเสียหายอีกหรือไม่

จ่ายค่าชดเชยตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานแล้ว อาจถูกฟ้องเรียกค่าเสียหายอีกหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 8802/2553

นายบุญลือ กาลึกสม โจทก์

บริษัทไทยอามส์ จำกัด จำเลย

เรื่อง 1. จ่ายค่าชดเชยตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานแล้ว อาจถูกฟ้องเรียกค่าเสียหายอีกหรือไม่

2. ย้ายหน้าที่จากกรุงเทพไปราชบุรี เป็นการเปลี่ยนสภาพการจ้างตาม ม.20/2518 ไหม

การเลิกจ้างเพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง การดำเนินธุรกิจ เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรมหรือไม่

การเลิกจ้างเพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง การดำเนินธุรกิจ เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรมหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 7797-7807/2553

บริษัทครีเอทีฟ จูซ จีวัน จำกัด จำเลย
นางสาวพรรณทิพา บุญยั่งยืน ที่ 1 กับพวกรวม 11 คน โจทก์

เรื่อง 1. การเลิกจ้างโจทก์ โดยอ้างโจทก์มีอัตราค่าจ้างสูง การเลิกจ้างเพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง การดำเนินธุรกิจ โดยโจทก์ไม่มีความผิด เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรมหรือไม่

2. จำเลยไม่สามารถนำสืบได้ว่า จำเลยไม่มีงานให้โจทก์ทำหรือหากไม่เลิกจ้างโจทก์ จะทำให้จำเลยขาดทุนแต่อย่างใด การเลิกจ้างโจทก์จึงเป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

นายจ้างจำเป็นต้องย้ายสถานประกอบการ มีวิธีการอย่างไร

นายจ้างจำเป็นต้องย้ายสถานประกอบการ มีวิธีการอย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 7777-7796/2553

นางสาวกุลวลัย เศรษฐาภรณ์ ที่ 1 กับพวกรวม 20 คน โจทก์

บริษัทการบินบริติชแอร์เวย์ พีแอลซี จำเลย

เรื่อง 1. นายจ้างจำเป็นต้องย้ายสถานประกอบการ มีวิธีการให้ถูกต้องตามกฎหมายอย่างไร

2. นายจ้างบอกเลิกจ้างตามมาตรา 120 แล้ว เป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมหรือไม่

3. นายจ้างคาดเดาว่าลูกจ้างไม่ย้ายจึงเลิกจ้างผลจะเป็นอย่างไร

ผิดสัญญาจ้างแรงงาน, ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง

ผิดสัญญาจ้างแรงงาน, ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง

คำพิพากษาฎีกาที่ 1921/2545

นายธนภัทร วรประวิตร โจทก์

บริษัท ยูไนเต็ด มอเตอร์ เซลส์ จำกัดจำเลย

เรื่อง ผิดสัญญาจ้างแรงงาน , ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง

1. โจทก์ฟ้องว่า ขอให้บังคับจำเลยชำระเงินจำนวน 4,386,803 บาท พร้อมเงินเพิ่มและดอกเบี้ย

ค่าเที่ยว ที่นายจ้างให้พนักงานขับรถทำงานขับรถโดยมีเงื่อนไข ไม่ถือเป็นค่าตอบแทนแต่เป็นเงินจูงใจ

ค่าเที่ยว ที่นายจ้างให้พนักงานขับรถทำงานขับรถโดยมีเงื่อนไข ไม่ถือเป็นค่าตอบแทนแต่เป็นเงินจูงใจ

คำพิพากษาฎีกาที่ 6026-6048/2548

นายสมเพียร สุภศร และพวกยี่สิบสองคน โจทก์

บริษัท เอเวอร์กรีนคอนเทนเนอร์เทอร์มินัล (ประเทศไทย)จำกัด จำเลย

เรื่อง

1. ค่าเที่ยว ที่นายจ้างให้พนักงานขับรถทำงานขับรถบรรทุกโดยมีเงื่อนไขว่าจะจ่ายให้เฉพาะเที่ยวที่มีการบรรทุกและต้องทำอัตราสิ้นเปลืองน้ำมันได้ตามที่นายจ้างกำหนดไม่ถือเป็นค่าตอบแทนการทำงานแต่ถือเป็นเงินจูงใจ
2. ค่าจ้างคืออะไร

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน รับว่าต่างอรรถคดีทุกศาลทั่วราชอาณาจักร รับแก้ต่าง เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ทนายแรงงาน รับว่าความคดีแรงงาน ถามตอบปัญหากฏหมายแรงงาน รับเป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน เพราะคนทำงาน จึงควรรู้เล่ห์เหลี่ยมกฎหมาย ทนายความผู้เชี่ยวชาญกฎหมายแรงงาน และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ฟ้องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ฟ้องคดีละเมิดนายจ้าง ฟ้องเรียกเงินทดแทน ทนายฟ้องนายจ้าง ปรึกษาทนายคดีแรงงาน ทนายแรงงาน ให้คำปรึกษาด้าน กฎหมายแรงงาน ดังนั้น การว่าความในคดีแรงงาน ทนายความหรือนักกฎหมายต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในตัวบทกฎหมาย ต้องที่นี่ที่เดียว ที่ปรึกาากฎหมายแรงงาน ไพบูลย์ นิติ จำกัด ทนายแรงงาน ที่มีความเชียวชาญ ประสบการณ์กว่า 20 ปี ทั้งยังมีเปิดอบรมกฎหมายแรงงานอีกด้วย ทั้งยังสามารถดูฎีกาแรงงานมากมายที่นี่ที่เดียว