08-1935-4607

pbnitico@ksc.th.com

หมวดหมู่: ฎีกาแรงงาน

ฎีกาแรงงาน ฎีกาที่น่าสนใจ ในกฎหมายแรงงงาน มีเคสฎีกากว่า 100 ฎีกา ซึ่งท่านสามารถหาอ่านและค้นหาข้อมูลฎีกาที่เกี่ยวกับท่านได้ ตามความต้องการเป็นการศึกษาฎีกา

ทำสัญญาจ้างคราวละ 6 เดือน รวม 6 ครั้ง เป็นสัญญาที่มีกำหนดระยะเวลาจ้างแน่นอนหรือไม่

ทำสัญญาจ้างคราวละ 6 เดือน รวม 6 ครั้ง เป็นสัญญาที่มีกำหนดระยะเวลาจ้างแน่นอนหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 11912/2553

นายชลยุทธ เดชะคุปต์ โจทก์

บริษัท กันกุล เทรดดิ้ง แอนด์ เอเยนซี่ จำกัด จำเลย

เรื่อง 1. ทำสัญญาจ้างโจทก์คราวละ 6 เดือน รวม 6 ครั้ง เป็นสัญญาที่มีกำหนดระยะเวลาจ้างแน่นอนหรือไม่

2. จ้างคราวละ 6 เดือน ต้องนับอายุงานรวมกันไหม

3. จ่ายเบี้ยเลี้ยงวันละ 140 บาท เป็นค่าจ้างไหม

4. ต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้าไหม

5. ทำสัญญาจ้างไว้แน่นอน ถ้าเลิกจ้างเลยสัญญาผลจะเป็นเช่นไร

6. ถ้าทำสัญญาจ้างคราวละ 6 เดือน เมื่อเลิกจ้างถือว่าเลิกจ้างไม่เป็นธรรมไหม

คำสั่งลดค่าจ้าง เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างและไม่เป็นคุณ ลูกจ้างไม่ยินยอม นายจ้างหาอาจทำได้ไม่

คำสั่งลดค่าจ้าง เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างและไม่เป็นคุณ ลูกจ้างไม่ยินยอม นายจ้างหาอาจทำได้ไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 11679-11682/2553

นายชุมพล อินทร์พรหม กับพวกรวม 4 คน โจทก์

บริษัท ไทยสตีลเคเบิล จำกัด (มหาชน) จำเลย

เรื่อง คำสั่งลดค่าจ้าง เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างและไม่เป็นคุณ ลูกจ้างไม่ยินยอม นายจ้างหาอาจทำได้ไม่

เรียกค่าเสียหายการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

เรียกค่าเสียหายการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

คำพิพากษาฎีกาที่ 10746/2553

นางสาวเสาวลักษณ์ สุขเกษม โจทก์

บริษัท แคล คอมพ์ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) จำเลย

เรื่อง 1. โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายจำเลยเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

2. การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม พยานหลักฐานไม่พอฟังว่ามีเหตุสมควรการเลิกจ้าง

การคำนวณระยะเวลาทำงานมีวิธีการนับอย่างไร

การคำนวณระยะเวลาทำงานมีวิธีการนับอย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 12037/2553

นายยุทธ สารจิตต์ โจทก์

บริษัท แกรนด์ โฮมมาร์ท จำกัด จำเลยที่ 1

นางบุณฑริกา เดชอุ่ม จำเลยที่ 2

เรื่อง 1. ม.19 การคำนวณระยะเวลาทำงานมีวิธีการนับอย่างไร

2. ลูกจ้างขาดงาน 1 วัน จะนับเป็นระยะเวลาทำงานไหม

3. ม.118 ให้นับระยะเวลาทำงานมีวิธีการนับอย่างไร

4. วันหยุด หมายความว่าอะไร

5. วันลา หมายความว่าอะไร

การทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์คืออะไร

การทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์คืออะไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 11183-11186/2553

นายวรยุทธ คงมาก กับพวกรวม 4 คน โจทก์

บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) จำเลย

เรื่อง 1. การทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์คืออะไร

2. เงินค่าทำงานที่ศรีราชา เงินค่าเช่าบ้าน และเงินค่าทำงานกะเป็นค่าจ้างไหม

3. ลูกจ้างระดับผู้จัดการมีสิทธิได้ค่าล่วงเวลาไหม

4. ลูกจ้างระดับผู้จัดการมีสิทธิได้ค่าทำงานในวันหยุดไหม

5. ลูกจ้างระดับผู้จัดการมีสิทธิได้ค่าล่วงเวลาในวันหยุดไหม

สัญญาจ้างแรงงานมีผลวันสัมภาษณ์ หรือวันลงนาม

สัญญาจ้างแรงงานมีผลวันสัมภาษณ์ หรือวันลงนาม

คำพิพากษาฎีกาที่ 7753 7772/2553

นายบรรยงค์ ไชยสะอาด กับพวกรวม 20 คน โจทก์

บริษัท ซีเอชอีซี (ไทย) จำกัด ที่ 1 จำเลย

ไชน่า ฮาร์เบอร์ เอ็นจิเนียริ่ง คัมปะนี (กรุ๊ป) ที่ 2

กิจการร่วมค้าเชค ที่ 3

เรื่อง 1. สัญญาจ้างแรงงานมีผลวันสัมภาษณ์ หรือวันลงนาม

2. ทำงานก่อสร้างวันละ 9 ชั่วโมง เป็นการทำงานล่วงเวลา 1 ชั่วโมง

เมื่อลูกจ้างทำความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง ละทิ้งหน้าที่ จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย ขณะยื่นข้อเรียกร้องเลิกจ้างได้ไหม

เมื่อลูกจ้างทำความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง ละทิ้งหน้าที่ จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย ขณะยื่นข้อเรียกร้องเลิกจ้างได้ไหม

คำพิพากษาฎีกาที่ 3451-3452/2549

บริษัท อัลมอนด์ (ไทยแลนด์) จำกัด โจทก์

นายธีรศักดิ์ บุญธรรม ที่ 1 กับพวกรวม 9 คน และจำเลยร่วมที่ 1 ถึงที่ 40 จำเลย

เรื่อง เหตุเลิกจ้าง เนื่องจาก :

1. เมื่อลูกจ้างทำความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง ละทิ้งหน้าที่ จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย ขณะยื่นข้อเรียกร้องเลิกจ้างได้ไหม

2. เมื่อพนักงานหยุดงานขณะยื่นข้อเรียกร้องและพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานเข้ามาไกล่เกลี่ยโดยทำข้อตกลงในวันนั้นเป็นข้อตกลงที่ชอบด้วยกฎหมายไหม

การเลิกจ้าง โดยอ้างสัญญาที่มีกำหนดแน่นอน  ลูกจ้างมีการทำงานต่อเนื่องเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่

การเลิกจ้าง โดยอ้างสัญญาที่มีกำหนดแน่นอน ลูกจ้างมีการทำงานต่อเนื่องเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 3800/2553

นายณรงค์ ไชยวงศ์ โจทก์

บริษัท เจดีซี อินดัสเทรียล (ไทยแลนด์) จำกัด จำเลย

เรื่่อง 1. การเลิกจ้าง โดยอ้างสัญญาที่มีกำหนดแน่นอน ลูกจ้างมีการทำงานต่อเนื่องเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่

2. กรณีอุทธรณ์การคำนวณคำสั่งเลิกจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามกำหนดจ่ายค่าจ้าง เป็นการอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงหรือไม่

ฟ้องเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน  ต้องฟ้องภายในกี่วัน

ฟ้องเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน ต้องฟ้องภายในกี่วัน

คำพิพากษาฎีกาที่ 7968/2553

บริษัท แมจิก เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด โจทก์

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ที่ 1 จำเลย

นายฉัตรดนัย ด้วงมหาสอน ที่ 2

เรื่อง ฟ้องเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน ต้องฟ้องภายในกี่วัน

กรณีเลิกจ้างโจทก์ เนื่องจากปฏิบัติงานล่าช้า ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน ฯลฯ เป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่

กรณีเลิกจ้างโจทก์ เนื่องจากปฏิบัติงานล่าช้า ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน ฯลฯ เป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 5863-5873/2553

นายชัยยุทธ ลิมลาวัลย์ ที่ 1 กับพวกรวม 11 คน โจทก์

บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมิกัลไทย จำกัด (มหาชน) จำเลย

เรื่อง 1. กรณีเลิกจ้างโจทก์ เนื่องจากปฏิบัติงานล่าช้า ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน ละเลย ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายซึ่งเป็นความผิดต่อข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่

2. ไม่มอบรหัสเข้าระบบคอมพิวเตอร์ เป็นความผิดร้ายแรงไหม

3. นายจ้างควรมีวิธีการอย่างไร ในการควบคุมระบบคอมพิวเตอร์

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน รับว่าต่างอรรถคดีทุกศาลทั่วราชอาณาจักร รับแก้ต่าง เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ทนายแรงงาน รับว่าความคดีแรงงาน ถามตอบปัญหากฏหมายแรงงาน รับเป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน เพราะคนทำงาน จึงควรรู้เล่ห์เหลี่ยมกฎหมาย ทนายความผู้เชี่ยวชาญกฎหมายแรงงาน และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ฟ้องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ฟ้องคดีละเมิดนายจ้าง ฟ้องเรียกเงินทดแทน ทนายฟ้องนายจ้าง ปรึกษาทนายคดีแรงงาน ทนายแรงงาน ให้คำปรึกษาด้าน กฎหมายแรงงาน ดังนั้น การว่าความในคดีแรงงาน ทนายความหรือนักกฎหมายต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในตัวบทกฎหมาย ต้องที่นี่ที่เดียว ที่ปรึกาากฎหมายแรงงาน ไพบูลย์ นิติ จำกัด ทนายแรงงาน ที่มีความเชียวชาญ ประสบการณ์กว่า 20 ปี ทั้งยังมีเปิดอบรมกฎหมายแรงงานอีกด้วย ทั้งยังสามารถดูฎีกาแรงงานมากมายที่นี่ที่เดียว