08-1935-4607

pbnitico@ksc.th.com

หมวดหมู่: ฎีกาแรงงาน

ฎีกาแรงงาน ฎีกาที่น่าสนใจ ในกฎหมายแรงงงาน มีเคสฎีกากว่า 100 ฎีกา ซึ่งท่านสามารถหาอ่านและค้นหาข้อมูลฎีกาที่เกี่ยวกับท่านได้ ตามความต้องการเป็นการศึกษาฎีกา

ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างที่ดีควรมีเงื่อนไขอย่างไร

ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างที่ดีควรมีเงื่อนไขอย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 3231/2554
บริษัท ห้องปฏิบัติการกลางตรวจสอบผลิตภัณฑ์เกษตรและอาหาร จำกัดโจทก์
นายจรัส ครชาตรี ในฐานะพนักงานตรวจแรงงานจำเลย

เรื่อง 1. เมื่อระเบียบ กำหนดว่า การแบ่งซื้อแบ่งจ้างโดยลดวงเงินที่จะซื้อหรือจะจ้างในครั้งเดียวกัน เพื่อให้วงเงินต่ำกว่าที่กำหนดโดยวิธีหนึ่งวิธีใด เพื่อให้อำนาจอนุมัติการซื้อการจ้างเปลี่ยนไปจะกระทำมิได้ หากฝ่าฝืนระเบียบดังกล่าวเป็นกรณีร้ายแรง ตามมาตรา 119(4)
2. ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างที่ดีควรมีเงื่อนไขอย่างไร

การสละสิทธิเรียกร้องทำให้ไม่มีอำนาจที่จะรื้อฟื้นสิทธิที่ระงับไปแล้ว

การสละสิทธิเรียกร้องทำให้ไม่มีอำนาจที่จะรื้อฟื้นสิทธิที่ระงับไปแล้ว

คำพิพากษาฎีกาที่ 15902/2553
นายคมสันต์ ปลื้มจิตต์โจทก์
บริษัท เบอร์ลี่ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน)จำเลย

เรื่อง1. การสละสิทธิเรียกร้องทำให้ไม่มีอำนาจที่จะรื้อฟื้นสิทธิที่ระงับไปแล้ว
2. ค่าเปอร์เซ็นต์การขายแก้ไขได้หรือไม่
3. วิธีเปลี่ยนแปลงค่าเปอร์เซ็นต์การขายทำอย่างไร
4. ค่าเปอร์เซ็นต์การขายเป็นสภาพการจ้างหรือไม่

การออกใบสำคัญการทำงาน มีหลักเกณฑ์อย่างไร

การออกใบสำคัญการทำงาน มีหลักเกณฑ์อย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 3502/2543

นายธนากร เฉลิมจิรภาส โจทก์

บริษัทแจ๊กเจียอุตสาหกรรม (ไทย) จำกัด ที่1 กับพวกรวม 2 คน จำเลย

เรื่อง การออกใบสำคัญการทำงาน มีหลักเกณฑ์อย่างไร

1. คดีนี้สืบเนื่องมาจากศาลแรงงานกลางพิพากษาอนุญาต ให้จำเลยทั้งสองเลิกจ้างโจทก์ ซึ่งชอบด้วยกฎหมาย

2. ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งให้จำเลยทั้งสองออกใบสำคัญการทำงาน แต่จำเลยทั้ง 2 ได้ออกใบสำคัญการทำงานให้โจทก์โดยระบุว่าทำงานตำแหน่งผู้จัดการฝ่ายขาย และพ้นจากการเป็นลูกจ้าง โดยคำพิพากษาตาม

โจทก์ทุจริตเบิกค่าเช่าเครื่องถ่ายเอกสารเท็จ

โจทก์ทุจริตเบิกค่าเช่าเครื่องถ่ายเอกสารเท็จ

คำพิพากษาฎีกาที่ 267/2546

นายประเสริฐ ธรรมรัตน์ โจทก์

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ที่ ๒ จำเลย บริษัทธนาคารกสิกรไทย จำกัด(มหาชน)ที่ ๑

เรื่อง โจทก์ทุจริตเบิกค่าเช่าเครื่องถ่ายเอกสารเท็จ

1. โจทก์ฟ้องว่า จำเลยที่ ๑ เป็น บริษัทมหาชนจำกัด จำเลยที่2 เป็นนิติบุคคล กองทุนสำรองเลี้ยงชีพซึ่ง โจทก์เข้าทำงานเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๒๕ ตำแหน่งผู้ช่วยผู้จัดการสาขาเงินเดือนเดือนละ ๒๓,๑๘๐ บาท ค่าครองชีพเดือนละ ๑,๘๐๐ บาท เงินบำเหน็จพิเศษอัตราร้อยละ ๑๐ ของเงินเดือน จำเลยที่ ๑ หักเงินเดือนโจทก์ทุกเดือนในอัตราร้อยละ ๓ และจำเลย

จ่ายค่าจ้างวันใด ย่อมถือเป็นวันครบกำหนดจ่ายค่าจ้าง  โดยมิใช่ดูจากข้อบังคับว่าจะจ่ายวันใด

จ่ายค่าจ้างวันใด ย่อมถือเป็นวันครบกำหนดจ่ายค่าจ้าง โดยมิใช่ดูจากข้อบังคับว่าจะจ่ายวันใด

คำพิพากษาฎีกาที่ 5790-5822/2543

นายพัชรนพ รวดเร็ว ที่ 1 กับพวกรวม 33 คน โจทก์

กรมโรงงานอุตสาหกรรม (สำนักงานกลางโรงงานน้ำตาล) จำเลย

เรื่อง จ่ายค่าจ้างวันใด ย่อมถือเป็นวันครบกำหนดจ่ายค่าจ้าง โดยมิใช่ดูจากข้อบังคับ

1. โจทก์ทั้งสามสิบสามสำนวนฟ้องเป็นทำนองเดียวกันว่า จำเลยได้จ้างโจทก์ทั้งสามสิบสามเข้าทำงานเป็นพนักงานของสำนักงานกลางโรงงานน้ำตาล โดยไม่มีกำหนดระยะเวลาการจ้าง เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 จำเลยได้มีหนังสือบอกกล่าวเลิกจ้างโจทก์ทั้งสามสิบสาม โดยให้มีผลเป็นการเลิกจ้างในวันที่ 1 สิงหาคม 2541 เนื่องจากจำเลยหยุดดำเนินกิจการสำนักงานกลางโรงงานน้ำตาล

สัญญาของนายจ้างที่ให้ลูกจ้างตกลงว่าจะกลับมาทำงานให้นายจ้างมีกำหนด 3 ปี  และจะไม่ไปทำงานกับนายจ้างอื่นที่ประกอบธุรกิจการค้าเดียวกัน

สัญญาของนายจ้างที่ให้ลูกจ้างตกลงว่าจะกลับมาทำงานให้นายจ้างมีกำหนด 3 ปี และจะไม่ไปทำงานกับนายจ้างอื่นที่ประกอบธุรกิจการค้าเดียวกัน

คำพิพากษาฎีกาที่ 4368/2549

บริษัท เคมีเคิลเฮ้าส์ แอนด์ แล็บอินสทรูเม้นท์ จำกัด โจทก์

นายไพบูลย์ จีรัตน์ จำเลย

เรื่อง 1. สัญญาของนายจ้างที่ให้ลูกจ้างตกลงว่าจะกลับมาทำงานให้นายจ้างมีกำหนด 3 ปีและจะไม่ไปทำงานกับนายจ้างอื่นที่ประกอบธุรกิจการค้าเดียวกับโจทก์อันเป็นการแข่งขัน เนื่องจากนายจ้างได้ส่งลูกจ้างไปฝึกอบรมในต่างประเทศเพื่อให้เกิดความชำนาญในผลิตภัณฑ์ที่โจทก์เป็นตัวแทนจำหน่าย สามารถบังคับได้หรือไม่

2. และหากลูกจ้างผิดสัญญาลาออกก่อนกำหนดและเข้าเป็นกรรมการและผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ซึ่งประกอบกิจการค้าอย่างเดียวกับนายจ้างแล้วจะต้องรับผิดอย่างไรบ้าง

เงินค่าเที่ยว ในการขับรถบรรทุกสินค้าตามระยะทางใกล้ไกลเป็นเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานขับรถหรือเป็นเงินค่าตอบแทนการทำงานเกินเวลาทำงานปกติ

เงินค่าเที่ยว ในการขับรถบรรทุกสินค้าตามระยะทางใกล้ไกลเป็นเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานขับรถหรือเป็นเงินค่าตอบแทนการทำงานเกินเวลาทำงานปกติ

คำพิพากษาฎีกาที่ 3631-3667 / 2552

นายวินัย พูลศิลป์ ที่ 1 กับพวกรวม 37 คน โจทก์

บริษัท ลินฟ๊อกซ์ ทรานสปอร์ต (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย

เรื่อง 1. เงินค่าเที่ยว ในการขับรถบรรทุกสินค้าตามระยะทางใกล้ไกลเป็นเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานขับรถหรือเป็นเงินค่าตอบแทนการทำงานเกินเวลาทำงานปกติ

2. ลูกจ้างขับรถบรรทุกสินค้างานขนส่งทางบก ไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลาแต่มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนทำงานเกินเวลาทำงานปกติหรือไม่

โจทก์อนุมัติให้มีการจ่ายเงินตามเช็คของลูกค้า ทั้งนี้ไม่มีเงินในบัญชี โดยไม่มีอำนาจ

โจทก์อนุมัติให้มีการจ่ายเงินตามเช็คของลูกค้า ทั้งนี้ไม่มีเงินในบัญชี โดยไม่มีอำนาจ

คำพิพากษาฎีกาที่ 689/2552

นายนุกูล สมบัติเจริญบูลย์ โจทก์

ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ที่ 1 จำเลย

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานบริษัทมหาชน จำกัด ธนาคารกสิกรไทย ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ที่ 2

เรื่อง โจทก์อนุมัติให้มีการจ่ายเงินตามเช็คของลูกค้า ทั้งนี้ไม่มีเงินในบัญชี โดยไม่มีอำนาจ เป็นการทุจริตต่อหน้าที่ จงใจทำให้จำเลยที่ 1 ได้รับความเสียหาย

ฝ่าฝืนระเบียบร้ายแรง

ฝ่าฝืนระเบียบร้ายแรง

คำพิพากษาฎีกาที่ 11/2547

บริษัท นิวไลท์ไทยยามาไก จำกัด โจทก์

นายพนมพร ชวนอุดม ฯ จำเลย

เรื่อง ฝ่าฝืนระเบียบร้ายแรง

1. โจทก์ฟ้องว่า จำเลยร่วมที่ 1-6 เป็นลูกจ้างของโจทก์ นางรุ่งทิพย์พาบุคคลภายนอกเข้าไปในโรงงานของโจทก์โดยไม่ได้รับอนุญาตหลายครั้ง กับนายคมสัน นายโกศล นายธารา นายสายชลและนายฉัตรมงคลดื่มสุราจนมึนเมาแล้วใช้ขวดสุราปาที่บริเวณประตูรั้วโรงงานของโจทก์ทำให้ทรัพย์สินของโจทก์เสียหาย โจทก์จึงเลิกจ้างบุคคลทั้งหกโดยไม่จ่ายค่าชดเชยและไม่บอกกล่าวล่วงหน้า ต่อมาบุคคลทั้งหกได้ยื่นคำร้องต่อจำเลยซึ่งเป็นพนักงานตรวจแรงงานว่าโจทก์เลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม ขอให้เพิกถอนคำสั่ง

เงินประจำตำแหน่ง และค่าครองชีพต้องนำมาเป็นฐานในการคำนวณค่าล่วงเวลาและค่าทำงานในวันหยุด หรือไม่

เงินประจำตำแหน่ง และค่าครองชีพต้องนำมาเป็นฐานในการคำนวณค่าล่วงเวลาและค่าทำงานในวันหยุด หรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 3987-4329/2553

นายประทีป ขอนพุดซา กับพวกรวม 329 คน โจทก์

บริษัท เอราวัณสิ่งทอ จำกัด จำเลย

เรื่อง 1. เงินประจำตำแหน่ง และค่าครองชีพต้องนำมาเป็นฐานในการคำนวณค่าล่วงเวลาและค่าทำงานในวันหยุด หรือไม่

2. ค่าครองชีพที่ถือเป็นค่าจ้างตามมาตรา 5 นั้นหมายถึงอะไร และหากค่าครองชีพเป็นค่าจ้างตาม มาตรา 5 แล้ว จะต้องนำมาเป็นฐานในการคำนวณค่าล่วงเวลาและค่าทำงานในวันหยุดหรือไม่

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน รับว่าต่างอรรถคดีทุกศาลทั่วราชอาณาจักร รับแก้ต่าง เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ทนายแรงงาน รับว่าความคดีแรงงาน ถามตอบปัญหากฏหมายแรงงาน รับเป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน เพราะคนทำงาน จึงควรรู้เล่ห์เหลี่ยมกฎหมาย ทนายความผู้เชี่ยวชาญกฎหมายแรงงาน และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ฟ้องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ฟ้องคดีละเมิดนายจ้าง ฟ้องเรียกเงินทดแทน ทนายฟ้องนายจ้าง ปรึกษาทนายคดีแรงงาน ทนายแรงงาน ให้คำปรึกษาด้าน กฎหมายแรงงาน ดังนั้น การว่าความในคดีแรงงาน ทนายความหรือนักกฎหมายต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในตัวบทกฎหมาย ต้องที่นี่ที่เดียว ที่ปรึกาากฎหมายแรงงาน ไพบูลย์ นิติ จำกัด ทนายแรงงาน ที่มีความเชียวชาญ ประสบการณ์กว่า 20 ปี ทั้งยังมีเปิดอบรมกฎหมายแรงงานอีกด้วย ทั้งยังสามารถดูฎีกาแรงงานมากมายที่นี่ที่เดียว