08-1935-4607

pbnitico@ksc.th.com

หมวดหมู่: ฎีกาแรงงาน

ฎีกาแรงงาน ฎีกาที่น่าสนใจ ในกฎหมายแรงงงาน มีเคสฎีกากว่า 100 ฎีกา ซึ่งท่านสามารถหาอ่านและค้นหาข้อมูลฎีกาที่เกี่ยวกับท่านได้ ตามความต้องการเป็นการศึกษาฎีกา

สินค้าในคลังสินค้าสูญหายใครรับผิดชอบ

สินค้าในคลังสินค้าสูญหายใครรับผิดชอบ

คำพิพากษาฎีกาที่ 1838/2554

นางสาวพรทิพย์ สิงห์พวงษ์ โจทก์ บริษัทเอกภาพซุปเปอร์ซัพพลาย จำกัด จำเลย

เรื่อง 1.สินค้าในคลังสินค้าสูญหายใครรับผิดชอบ
2.เมื่อเลิกจ้างยึดหน่วงเงินค้ำประกันได้ไหม
3.วิธีควบคุมสินค้าในคลังสินค้าทำอย่างไร
4.การรับสินค้า การจ่ายสินค้าควรทำอย่างไร
5.เงินประจำตำแหน่งเป็นค่าจ้างหรือไม่
6.วิธีคำนวณค่าวันหยุดพักผ่อนประจำปีเมื่อถูกเลิกจ้าง

ลูกจ้างเบิกความเป็นพยานต่อศาลแรงงานกลางเป็นการฝ่าฝืน พ.ร.บ. แรงงานฯ พ.ศ. 2518 ม.121(1) และ (2) หรือไม่

ลูกจ้างเบิกความเป็นพยานต่อศาลแรงงานกลางเป็นการฝ่าฝืน พ.ร.บ. แรงงานฯ พ.ศ. 2518 ม.121(1) และ (2) หรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 15911-15913/2553

นายเจียม หล้าบุญมา ที่ 1 กับพวกรวม 3 คน โจทก์

นายอัมพร นีละโยธิน ที่ 1 กับพวกรวม 14 คน จำเลย
เรื่อง ลูกจ้างไปเบิกความเป็นพยานต่อศาลแรงงานกลาง เป็นความเท็จอันเป็นข้อสำคัญในคดีนายจ้าง เลิกจ้าง เป็นการฝ่าฝืน พ.ร.บ. แรงงานฯ พ.ศ. 2518 ม.121(1) และ (2) หรือไม่

เดิมเวลาทำงาน 8.00  17.00 น.  แต่เปลี่ยนเป็น 9.00-18.00 น.  ถือว่าเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างไหม

เดิมเวลาทำงาน 8.00 17.00 น. แต่เปลี่ยนเป็น 9.00-18.00 น. ถือว่าเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างไหม

คำพิพากษาฎีกาที่ 15914-15917/2553

บริษัท ไก่สด เซนทาโก จำกัด ผู้ร้อง

นางกุลนิภา พันตน ที่ 1 กับพวกรวม 4 คน ผู้คัดค้าน

เรื่อง 1. เดิมมีเวลาทำงาน 8.00 17.00 น. แต่เปลี่ยนเป็น 9.00-18.00 น. ถือว่าเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างไหม
2. ปิดทางเข้า-ออกเลิกจ้างได้ไหม

ผู้ค้ำประกัน ค้ำประกันลูกจ้างตำแหน่งหนึ่ง  แต่ลูกจ้างย้ายไปทำงานอีกตำแหน่งหนึ่ง ย่อมพ้นความรับผิดไหม

ผู้ค้ำประกัน ค้ำประกันลูกจ้างตำแหน่งหนึ่ง แต่ลูกจ้างย้ายไปทำงานอีกตำแหน่งหนึ่ง ย่อมพ้นความรับผิดไหม

คำพิพากษาฎีกาที่ 15904/2553

บริษัทการบินไทย จำกัดโจทก์

นางสาวจุฑารัตน์ ณ สงขลา ที่ 1
นายโกวิท โชติรส โดยนายวีรวัฒน์ โชติรส
ผู้เข้าเป็นคู่ความแทน ที่ 2จำเลย

เรื่อง(1) ผู้ค้ำประกัน ค้ำประกันลูกจ้างตำแหน่งหนึ่ง แต่ลูกจ้างย้ายไปทำงานอีกตำแหน่งหนึ่ง ย่อมพ้นความรับผิดไหม
(2) อ้าง ป.พ.พ. มาตรา 223 และมาตรา 680 ดูประกอบ
(3) หากจะย้ายหน้าที่ลูกจ้าง ควรเปลี่ยนสัญญาค้ำประกันทุกครั้ง

ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาเสร็จแล้วออกไปจากบริษัทฯโดยไม่ตอกบัตรลงเวลา  เป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานและประกาศของนายจ้าง ถือเป็นกรณีกระทำความผิดอย่างร้ายแรง

ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาเสร็จแล้วออกไปจากบริษัทฯโดยไม่ตอกบัตรลงเวลา เป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานและประกาศของนายจ้าง ถือเป็นกรณีกระทำความผิดอย่างร้ายแรง

คำพิพากษาฎีกาที่ 12194-12198/2553

นายไพรินทร์ ชื่นไสว ที่ 1 กับพวกรวม 6 คนโจทก์

บริษัท บางนา ซี.ดี. จำกัด จำเลย

เรื่อง 1. ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาเสร็จแล้วออกไปจากบริษัทฯโดยไม่ตอกบัตรลงเวลา เป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานและประกาศของนายจ้าง ถือเป็นกรณีกระทำความผิดอย่างร้ายแรง
2. วิธีการควบคุมการทำงานล่วงเวลาทำอย่างไร
3. ลูกจ้างไม่ปั๊มบัตรเข้าออก และนายจ้างยังไม่จ่ายค่าล่วงเวลาจะถือเป็นความผิดสำเร็จไหม

ผู้มีอำนาจเลิกจ้างคือใคร  วิธีการมอบอำนาจเลิกจ้างทำอย่างไร

ผู้มีอำนาจเลิกจ้างคือใคร วิธีการมอบอำนาจเลิกจ้างทำอย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 1836/2554

นายสมบัติ อ.วัฒนกุล โจทก์

การรถไฟแห่งประเทศไทย ที่ 1
นายพิจารณ์ รัตนราตรี ที่ 2 จำเลย

เรื่อง1. ผู้มีอำนาจเลิกจ้างคือใคร
2. วิธีการมอบอำนาจเลิกจ้างทำอย่างไร
3. หากไม่มอบอำนาจเลิกจ้างให้ถูกต้องผลเป็นอย่างไร
4. ก่อนเลิกจ้างต้องมีการสอบสวนทุกครั้งไหม
5. ระเบียบการสอบสวนที่ดีควรมีเงื่อนไขอย่างไร
6. วิธีการสอบสวนต้องทำอย่างไร
7. หากใช้คำว่า ตรวจสอบความผิด ดีกว่า การสอบสวน ไหม
8. ยิ่งมีระเบียบการสอบสวนละเอียดมากเท่าใดก็ต้องทำให้ถูกขั้นตอน

นายจ้างได้ประกาศกำหนดวันหยุดตามประเพณี  ตามพ.ร.บ. คุ้มครองฯ ม.29 โดยมิได้รวมวันหยุดประเพณี 12 วัน  และเปลี่ยนไปเป็นวันหยุดอื่นแทนโดยลูกจ้างยินยอม  ถือว่าเป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายหรือไม่

นายจ้างได้ประกาศกำหนดวันหยุดตามประเพณี ตามพ.ร.บ. คุ้มครองฯ ม.29 โดยมิได้รวมวันหยุดประเพณี 12 วัน และเปลี่ยนไปเป็นวันหยุดอื่นแทนโดยลูกจ้างยินยอม ถือว่าเป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 11182/2553

บริษัท ซัมซุง อิเล็คโทร-แม็คคานิค ( ประเทศไทย ) จำกัด โจทก์

นางสุวรรณนา ขันติวิศิษฎ์ จำเลย

เรื่อง 1. นายจ้างได้ประกาศกำหนดวันหยุดตามประเพณี ตามพ.ร.บ. คุ้มครองฯ ม.29 โดยมิได้รวมวันหยุดประเพณี 12 วัน และเปลี่ยนไปเป็นวันหยุดอื่นแทนโดยลูกจ้างยินยอม ถือว่าเป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายหรือไม่
2. เมื่อนายจ้างได้จ่ายค่าทำงานในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้เมื่อลูกจ้างทำงานในวันที่นายจ้างประกาศกำหนดเป็นวันหยุดประเพณีแล้ว นายจ้างจะต้องจ่ายค่าทำงานในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุดตามประเพณีให้แก่ลูกจ้างอีกหรือไม่ นายจ้างอ้างเหตุจ่ายค่าจ้างเกินกว่าปกติกับการที่ลูกจ้างได้ให้ความยินยอมได้หรือไม่

สัญญาจ้างที่มีการกำหนดระยะเวลา และมีการต่อสัญญาติดต่อกัน เป็นสัญญาที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างที่แน่นอนหรือไม่

สัญญาจ้างที่มีการกำหนดระยะเวลา และมีการต่อสัญญาติดต่อกัน เป็นสัญญาที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างที่แน่นอนหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 16006/2553
นายวิตโตริโอ แบร์ตินี่ โจทก์
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำกัด (มหาชน)จำเลย
เรื่อง1. สัญญาจ้างที่มีการกำหนดระยะเวลา และมีการต่อสัญญาติดต่อกัน เป็นสัญญาที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างที่แน่นอนหรือไม่
2. สัญญาจ้างที่มีการบอกเลิกจ้างตามกำหนดในสัญญาจะต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างตาม มาตรา 118 หรือไม่ และการเลิกจ้างดังกล่าวเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่
3. การที่นายจ้างจ่ายค่าจ้างโดยกำหนดเงื่อนไขว่าให้สละสิทธิฟ้องร้อง หากลูกจ้างไม่ปฏิบัติตาม นายจ้างไม่จ่ายค่าจ้างให้ ถือเป็นการจงใจไม่จ่ายค่าจ้างหรือไม่ และนายจ้างต้องจ่ายเงินเพิ่ม ตามมาตรา 9 หรือไม่

เดิมมีสภาพการทำงาน 7.30 – 16.30 น. แต่ผ่อนปรนทำงานเพียง 7.30 – 15.30 น. ถือว่าเป็นกรณีที่นายจ้างให้ประโยชน์ ไม่เป็นสภาพการจ้างที่ต้องปฏิบัติตลอดไป

เดิมมีสภาพการทำงาน 7.30 – 16.30 น. แต่ผ่อนปรนทำงานเพียง 7.30 – 15.30 น. ถือว่าเป็นกรณีที่นายจ้างให้ประโยชน์ ไม่เป็นสภาพการจ้างที่ต้องปฏิบัติตลอดไป

คำพิพากษาฎีกาที่ 12821-12824/2553
นายยุทธนา จิตติยพล ที่ 1 กับพวกรวม 4 คนโจทก์
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย จำเลย

เรื่อง1. เดิมมีสภาพการทำงาน 7.30 16.30 น. แต่ผ่อนปรนทำงานเพียง 7.30 -15.30 น.
2. แม้ดั้งเดิมเมื่อทำงานหลัง 15.30 น. ก็จ่ายค่าล่วงเวลาให้
3. ถือว่าเป็นกรณีที่นายจ้างให้ประโยชน์ ไม่เป็นสภาพการจ้างที่ต้องปฏิบัติตลอดไป
4. ต่อมานายจ้างยกเลิกเวลาทำงานเป็น 7.30 16.30 น. ตามเดิมจะได้ไหม

การใช้อุปกรณ์ของนายจ้างเพื่อประโยชน์ในธุรกิจส่วนตัวของลูกจ้าง  เป็นการทุจริตต่อหน้าที่  นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย

การใช้อุปกรณ์ของนายจ้างเพื่อประโยชน์ในธุรกิจส่วนตัวของลูกจ้าง เป็นการทุจริตต่อหน้าที่ นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย

คำพิพากษาฎีกาที่ 12820/2553
นายเอ็ดเวอร์ด แอนด์ดริว อีวานส์โจทก์
บริษัท ไรท์ จำกัด ที่ 1 กับพวกรวม 5 คนจำเลย

เรื่องการใช้อุปกรณ์ของนายจ้างเพื่อประโยชน์ในธุรกิจส่วนตัวของลูกจ้าง เป็นการทุจริตต่อหน้าที่ นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน รับว่าต่างอรรถคดีทุกศาลทั่วราชอาณาจักร รับแก้ต่าง เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ทนายแรงงาน รับว่าความคดีแรงงาน ถามตอบปัญหากฏหมายแรงงาน รับเป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน เพราะคนทำงาน จึงควรรู้เล่ห์เหลี่ยมกฎหมาย ทนายความผู้เชี่ยวชาญกฎหมายแรงงาน และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ฟ้องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ฟ้องคดีละเมิดนายจ้าง ฟ้องเรียกเงินทดแทน ทนายฟ้องนายจ้าง ปรึกษาทนายคดีแรงงาน ทนายแรงงาน ให้คำปรึกษาด้าน กฎหมายแรงงาน ดังนั้น การว่าความในคดีแรงงาน ทนายความหรือนักกฎหมายต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในตัวบทกฎหมาย ต้องที่นี่ที่เดียว ที่ปรึกาากฎหมายแรงงาน ไพบูลย์ นิติ จำกัด ทนายแรงงาน ที่มีความเชียวชาญ ประสบการณ์กว่า 20 ปี ทั้งยังมีเปิดอบรมกฎหมายแรงงานอีกด้วย ทั้งยังสามารถดูฎีกาแรงงานมากมายที่นี่ที่เดียว